ความสำคัญของ อุปกรณ์เซฟตี้ สำหรับป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
อย่างที่ใครหลายคนได้ยินว่า Safety First ซึ่งหมายความความปลอดภัยต้องมาอันดันหนึ่งเสมอ และยิ่งเป็นความปลอดภัยที่เกิดขึ้นกับร่างการ จำเป็นที่เราจะต้องรู้จักป้องกันให้ปลอดภัยเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นมา อุปกรณ์เซฟตี้ ที่เราได้สวมใส่ไว้นั้นก็จะช่วยยับยั้ง หรือบรรเทาอาการที่เกิดจากอุบัติเหตุนั้นๆได้ด้วยทางเว็บไซต์เซฟตี้พีพีอี จึงนำความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Devices (PPP) หรือ Personal Protective Equipment (PPE)) มาฝากกันเพิ่มเติม..
รู้ได้ไง? หลังสวมใส่อุปกรณ์ลดเสียงแล้วจะได้ยินเสียงในระดับไม่เป็นอันตราย
ถึงแม้ว่าอุปกร์ลดเสียงระบุว่าสามารถลดเสียงได้ในระดับหนึ่ง แต่นำมาใช้ต้องคำนึงการสวมใส่จริง ซึ่งไม่ได้แนบเนียนเหมือนกับการทดลองของบริษัทผู้ผลิต เนื่องจากการสวมใส้ไม่ถูกต้อง หรือจากการทำงาน ที่มีการ เคลื่อนไหวตลอดเวลา มีเหงื่อออก ไอ จาม ส่งผลให้…สวมใส่อุปกรณ์ไม่กระชับ
อุปกรณ์ระงับเหตุฉุกเฉินสำหรับงานเซฟตี้และประเภทเพลิงไหม้
จริงๆแล้วเหตุฉุกเฉินนั้นเป็นเหตุการที่อาจจะเกิดขึ้นได้โดยที่เราไม่ได้คาดคิด การป้องกันที่ดีก็ควรที่จะมีความพร้อมที่จะรับมือกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น นั้นหมายความว่าจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีบรรดาเหล่าอุปกรณ์ที่เข้ามาช่วย ทางเว็บไซต์เซฟตี้พีพีอีเห็นถึงความสำคัญในเรื่องนี้ ตามนโยบายของเซฟตี้มืออาชีพของทุกบริษัทนั้นคือ ความปลอดภัยต้องมาก่อน อุปกรณ์เซตี้ ด้านนี้จรึงมีความสำคัญเช่นกัน
ระบบและอุปกรณ์เซฟตี้ป้องกันอันตรายสำหรับสารเคมีอันตราย
ในปัจจุบันมีเครื่องมือมากมายที่เข้าให้ช่วยอำนวยความสะดวกสำหรับการจัดเก็บสารเคมี ทั้งระบบที่เกี่ยวกับความดันสารเคมี อุณหมิของสารเคมี ซึ่งช่วยให้สะดวกสบายขึ้น แต่พี่น้องชาวเซฟตี้พีพีอี ก็ควรที่จะทำการหมั่นตรวจสอบอุปกรณ์เซฟตี้ เหล่านี้บ่อยๆด้วย เพื่อให้มั่นใจว่ามันยังสามารถใช้งานได้ตามปกติ
บริเวณพื้นที่มีไอระเหยของสารเคมีสำหรับเครื่องจักร อุปกรณ์ และระบบไฟฟ้า
เครื่องจักร อุปกรณ์ และระบบไฟฟ้าก็ส่งผลต่อความปลอดภัยที่ควรคำนึงถึงด้วยเพราะอุปกรณ์เหล่านี้อาจจะทำให้เกิดประกายไฟได้และ อาจเกิดการเผาไหม้ได้ ดังนั้นชาวเซฟตี้พีพีอีควรที่จะต้องคำนึงถึงประเภทสารเคมีและการจัดวางให้เหมาะสม
การระบายอากาศพื้นที่ปฎิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีอันตราย
สำหรับพื้นที่ที่มีสารเคมีนั้นจะเป็นอย่างมากที่จะต้องคำนึงถึงการระบายอากาศเพราะสารเคมีบางชนิดทำปฏิกิริยาที่รุนแรงได้ ซึ่งถ้าไม่มีการเก็บและมีการระบายอากาศที่เหมาะสมก็จะทำให้เป็นอันตรายได้เช่นกัน
ฉลากปิดบนภาชนะบรรจุสารเคมี ป้ายสัญลักษณ์และประเภทของสารเคมี
พาชาว “เซฟตี้พีพีอี” มาทำความรู้จักฉลากของสารเคมีต่างกันนะ เพราะเหล่าเซฟตี้มืออาชีพหรือมือใหม่บางคนอาจจะยังไม่แม่นยำกัน เป็นความรู้เพื่อที่จะใช้ต่อไปได้ โดยสารเคมีทุกชนิดต้องปิดฉลากแสดงชนิด และประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมี และข้อความเตือนอันตราย และข้อควรระวัง
READ MORE
ข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (Safety Data Sheet : SDS)
หลายท่านยังใช้ชื่อเรียกเดิมคือ Material safety data sheet หรือ MSDS แน่นอนว่าผู้ที่ใช้หรือเกี่ยวข้องกับสารเคมีคงเคยได้ยิน คำว่า เอกสารข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี หรือ MSDS (Material Safety Data Sheet) มาบ้างพอสมควร แต่ปัจจุบันนี้เมื่อสืบค้นเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีจากอินเทอร์เน็ต ในแหล่งข้อมูลบางแห่งก็อาจจะใช้คำว่า SDS (Safety Data Sheet) ขณะที่บางแห่งใช้ MSDS ทำให้เกิดความสงสัยว่า ทำไมจึงเรียกชื่อต่างกัน และสองคำนี้มีความหมายเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
แผนการฝึกอบรมและการฝึกซ้อมสำหรับเหตุการฉุกเฉิน
พนักงานควรได้รับการอบรมว่าจะเริ่มต้นในการตอบโต้กับเหตุการฉุกเฉินตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างไร โดยกำหนดหัวข้ออบรมให้กับพนักงานที่ซึ่งได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินและมีระบบตรวจสอบว่าได้มีการกระทำการอย่างเคร่งครัดมั่นใจได้ว่าได้มีการอบรมครบถ้วนจริง พนักงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้มีคุณวุฒิและสามารถที่จะทำงานตามภาระกิจที่ได้รับมอบหมาย